วันจันทร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประเภทของข้อมูล






ประเภทของข้อมูลข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้

                            ขนมเค้ก

 1. ข้อมูลตัวอักษร

คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ

ภาษาต่างประเทศ เช่่น ทะเบียนรถยนต์ ชื่อ นามสกุล หมายเลขโทรทัศน์ บ้านเลขที่ เป็นต้น
img8.gif
    
2. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข

คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวเลข 0 ถึง 9 ใช้ในการคำนวณได้ เช่น คะแนนจำนวนเงิน ราคาสินค้าเป็นต้น
                                        

                              
      

3. ข้อมูลภาพ คือข้อมูลที่เป็นภาพอาจเป็นภาพนิ่ง เช่นภาพถ่าย ภาพวาด ภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพ

จากวิดีทัศน์ เป็นต้น อาจเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ หรือแผ่นซีดี เป็นต้น
4. ข้อมูลเสียง คือ ข้อมูลที่รับรู้ด้วยการได้ยิน จัดเก็บอยู่ในสื่อคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลข้อมูล

เสียงด้วยลำโพง




การรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ

ข้อมูลสารสาระสนเทศ


ข้อมูลและสารสนเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล ( data ) คือข้อเท็จจริงที่มีอยู่ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับบุคคลสิ่ง หรือเหตุการณ์ที่สนใจมีความหมายอยู่ในตัวข้อมูลถือเป็นหัวใจสำคัญ ระบบงานคอมพิวเตอร์ หากข้อมูลที่ป้อนให้กับคอมพิวเตอร์ผิดผลลัพธ์ที่ได้จะไม่มีคุณค่าอะไรเลย
คอมพิวเตอร์รู้จักข้อมูลเพียงสองลักษณะ คือ
1. ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณ ( numeric ) ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวเลขล้วนๆและจะใช้ตัวเลขนั้นในการคำนวณ
2. ข้อมูลที่ไม่นำมาใช้ในการคำนวณ ( string ) ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อความที่ผสมตัวเลขช ตัวเลขล้วนๆแต่ไม่นำไปใช้ในการคำนวณเช่นอันดับที่ เลขประจำ บ้านเลขที่ เป็นต้น
ลักษณะของ ข้อมูล และสาระสนเทศ ปัจจุบันเป็นยุคที่สารสนเทศเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของทุกๆคนอย่างเห็นได้ชัดอาจกล่าวได้ว่าความสำคัญของข้อมูลและใช้ข้อมูลมาตั้งอดีตกาลแต่ระดับและขอบเขตของการอาจใช้ข้อมูลสารสรเทศที่เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 ก็อาจกล่าวได้ว่าเป็นปัจจัยหนึ่งคือวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดเกี่ยวกับสารสรเทศ อาจกล่าวได้ว่าปัจจัยพื้นฐานของกิจกรรมต่างๆของมนุษย์คือพลังงานวัตถุและสารสนเทศปัจจัยทั้งสามนี้ทำให้มนุษย์จัดหาสิ่งต่างๆที่มนุษย์ต้องการได้ เช่น เครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัยการคมนาคมขนส่งเป็นต้น ดังนั้น สารสนเทศเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งปัจจัยหนึ่ง
ความหมายของข้อมูล และสารสนเทศ ข้อมูล ยุคปัจจุบัน เป็นยุคที่สารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำของทุกๆคนอย่างเห็นได้ชัดข้อมูลและสารสนเทศเป็นคำที่ใช้ควบคู่กันจนกระทั่งบางคนเข้าใจผิดว่าเป็นคำที่มีความหมายเหมือนกัน
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติแทนปริมารหรือการกระทำต่างๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์หรือประมวลผลข้อมูลอลู่ในรูปตัวเลขตัวหนังสือรูปภาพแผนภูเป็นต้น ข้อมูลจึงบอกเกี่ยวกับสภาพการณ์หรือสิ่งที่เกิดขึ้นหรือสิ่งที่ปรากฎขึ้นและข้อมูลจะคงสภาพความเป็นข้อมูลอยู่เช่นนั้นไม่ว่าจะมี่การนำไปใช้หรือไม่ก็ตามผูนำข้อมูลไปใช้จะต้องตัชีความหรือพิจารณาความหมายของข้อความเหล่านั้นเพื่อหาข้อสรุปเพื่อตัดสินใจต่อไป
สารสนเทศ สารสนเทศ ได้แก่ข้อมูลต่างๆที่ได้รับการประมวลผลแล้วด้วยวิธีการต้างเป็นความรู้ที่ต้องการสำใช้ทะประโยชน์เป็นส่วนผลลัพธ์หรือเอาท์พุตของระบบการประมวลผลข้อมูล สารสนเทศ คือ ข้อความรู้ที่ประมวลได้จากข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องในเรื่อนั้นจนได้ข้อสรุปเป็นข้อความรู้ที่สามรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้น หากสารสรเทศใดไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ก็ย่อมถือได้ว่าไม่ใช่สารสนเทศของผู้นั้น
สารสนเทศเป็นข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้วโดยเน้นความรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้เพื่อเป็นกานย้ำความเข้าใจ ตัวอย่าง
 1. ผู้บริหารระดับสูงมีหน้าที่กำหนดนโยบายและวางแผนระยะยาว .
 2. ผู้บริหารระดับกลางมีหน้าที่ในการวางระยะปานกลางและดำเนินงานให้สำเร็จ
 3. ผู้บริหารระดับต้นรับผิดชอบดำเนินงานตามกำหนด
ข้อมูลและสาระสนเทศในความหมายผู้ใช้
ผู้ใช้ข้อมูลและสาระสนเทศจะรับรู้ข้อมูลและสารสนเทศที่ต่างกันไปทำให้มีหน้าที่ต่างกันไปด้วย
ลักษณะของสารสนเทศเป็นการรวบรวมข้อมูลหลายๆอย่าง
จุดมุ่งหมายมี 5 ส่วนคือ
 1. ข้อมูล เป็นตัวเลข ข้อความ ป้อนเข้า
 2. การประมวลผลกำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลเพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้
 3. การจัดเก็บ สะดวกต่อการใช้และปรับปรุงได้
 4. เทคโนโลยีช่วยในการเก็บข้อมูลประมวลผล
 5. สารสนเทศผลผลิตจะต้องถูกต้องตรงกับความต้องการ
แหล่งข้อมูล
1. แหล่งข้อมูลภายในองค์การประกอบด้วยข้อมูลของพนักงานในองค์การและเกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงขององค์การข้อมูลได้มาจากแหล่งข้อมูลภายในนี้โดยไม่เป็นทางการเช่น การคุยกัน
2. แหล่งข้อมูลภายนอกองค์การ ข้อมูลที่จะต้องเก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น การสัมภาษณ์เรียกว่า ข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลที่ได้มาจากการรวบรวมไว้แล้ว เช่น สถิติต่างๆ เรียกว่า ข้อมูลทุติยภูมิ
คุณสมบัติของข้อมูล
1. ความถูกต้อง หากการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นจะไม่น่าเชื่อถือ ทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงความถูกต้องแม่นยำที่สุด
2. ความรวดเร็วละเป็นปัจจุบันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีความตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว
3. ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นอยู่กับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการปฏิบัติ
4. ความชัดเจนและกะทัดรัด ควรออกแบบระบบโครงสร้างที่กะทัดรัดและสื่อความหมายได้ดี
5. ความสอดคล้อง ต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการหรือขอบเขตของหน่วยงานและองค์การ

วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประวัติของฉัน


ชื่อ          ..ภัสราภรณ์  หลักเพชร
ชื่อเล่น     มะปราง                                         
เทวดาส่งมาประสูติ  25  มี.. 2542
อายุ        12 ปี
เพื่อนสนิท     อรนี่, กิ่งกี้, เเนนนี่,ออมอี้,นองนี่, ละมุด,แบมบู,
                   จาจา,สายบัว
สีที่ชอบ         เหลือง  เเดง  สุดๆคือเขียว
กีฬาที่like     เปตอง,วอลเลย์บอลตะกร้อ                      
เพลงที่ชอบ    ขอบคุณที่อยู่ข้างกัน
ดาราที่love     ณเดช,เคร จิระเดช,โดม ปกรณ์ ลัม,
                                     บอย ปกรณ์,พลอย เฌอมาลย์,
                      อ๋อม  อรรคพันธ์,พอลล่า
นักร้องที่love  ฟรุค(ซีควิน),ซี,เเบล็กเเจ็ค,มด(โฟร์  มด),ขนมจีน,เควิน (six),
                  กราฟ(เเบร็ควนิลา), บี้เดอะสตาร์,  กันเดอสตาร์
งานอดิเรก     ยำลูกล้อ(โกหก)
อนาคฆ         ยังมองไม่เห็น
                                              

เเหล่งข้อมูล

    
 
แหล่งข้อมูลแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
    
1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จาก การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง (บาร์โด้ด : Barcode) เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก


 เครื่องอ่านรหัสแท่ง
 



 2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีการรวบรวมไว้เรียบร้อยแล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเป็นสารสนเทศ แล้ว เช่น สถิติการนำเข้าและส่งออกสินค้า เป็นต้น


สถิติข้อมูล